ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ-สกุล (TH) นายพิทักษ์ พุทธวรชัย
นายพิทักษ์ พุทธวรชัย
Name (EN)  
E-mail puttawarachai@rmutl.ac.th
การศึกษา

ปริญญาโท-วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตำแหน่งวิชาการ อาจารย์
สาขาวิชา พืชศาสตร์
หลักสูตร วท.ม.พืชศาสตร์
คณะ/สถาบัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
สำนัก/กอง -
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา - สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร
ความเชี่ยวชาญ
สาขาความเชี่ยวชาญ -
คำสำคัญ
กลุ่มวิจัย (0)  
ผลงาน
โครงการวิจัย 12 จากระบบระเบียนนักวิจัย
ปี 2558 เรื่อง: การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมของการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินต้นทุนต่ำสำหรับชุมชน - (อาจารย์)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17001009 การพัฒนาคุณภาพเชียงดา เพื่อใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพต้านอนุมูลอิสระเชิงพาณิชย์ - (ไม่ระบุ)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17003008 ความหลากหลายทางพันธุกรรมของผักเชียงดาโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ - (ไม่ระบุ)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17003009 ปัจจัยทางด้านเขตกรรมบางประการในการผลิตผักเชียงดาที่มีผลต่อผลผลิตและฤทธิ์ การต้านอนุมูลอิสระ   - (ไม่ระบุ)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17003010 การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (ไม่ระบุ)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17003013 ผลของโคลชิซินต่อปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา - (ไม่ระบุ)
ปี 2554 เรื่อง: 2554A17001008 การพัฒนาคุณภาพเชียงดา (Gymnema inodorum(Lour.) Decne.) เพื่อใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต้านอนุมูลอิสระเชิงพาณิชย์ - (ไม่ระบุ)
ปี 2554 เรื่อง: 2554A17003026 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของผักเชียงดาโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอและการสร้างสารต้านอนุมูลอิสระ - (ไม่ระบุ)
ปี 2554 เรื่อง: 2554A17003027 ผลของระยะปลูกและวัสดุคลุมดินต่อผลผลิตและสารต้านอนุมูลอิสระในการผลิตผักเชียงดา (Gymnema inodorum Decne)   - (ไม่ระบุ)
ปี 2554 เรื่อง: 2554A17003035 การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (ไม่ระบุ)
ปี 2553 เรื่อง: รวบรวมและคัดเลือกพันธุ์ฟักข้าวเพื่อพัฒนาสู่การผลิตในเชิงอุตสาหกรรม - (ไม่ระบุ)
ปี 2550 เรื่อง: พัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรที่เหมาะสมสำหรับการเรียนการสอนของโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลำปาง - (ไม่ระบุ)
โครงการวิจัย 7 จากระบบHR-Profile
ปี 2558 เรื่อง: ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ผลิตจากแบคทีเรียกลุ่มPink Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs)ต่อการพัฒนายอดและแคลลัสของผักเชียงดา [Gymnema inodorum (Lour.) Decne.] ที่มีสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในสภาพปลอดเชื้อ - (ผู้ร่วมโครงการวิจัย)
ปี 2555 เรื่อง: การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (ผู้ร่วมโครงการวิจัย)
ปี 2554 เรื่อง: การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (ผู้ร่วมโครงการวิจัย)
ปี 2552 เรื่อง: ศึกษาการขยายพันธุ์ผักย่านางด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - (ผู้ร่วมโครงการวิจัย)
ปี 2551 เรื่อง: ศึกษาการขยายพันธุ์ผักย่านางด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - (ผู้ร่วมโครงการวิจัย)
ปี 2551 เรื่อง: การจำแนกสายพันธุ์ต้นย่านางด้วยรูปแบบของไอโซไซม์ - (ผู้ร่วมโครงการวิจัย)
ปี 2550 เรื่อง: พัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรที่เหมาะสมสำหรับ การเรียนการสอนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลำปาง - (ผู้ร่วมโครงการวิจัย)
ผลงานวิชาการ 2
ปี 2554 เรื่อง: ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและองค์ประกอบของผลผลิตผักเชียงดา 6 โคลน - (เจ้าของผลงาน)
ปี 2553 เรื่อง: ประเมินลักษณะบางประการของผักเชียงดา 30 สายต้น - (เจ้าของผลงาน)
ผลงานสร้างสรรค์ 0
-
ผลงานทั่วไป 0 จากระบบระเบียนนักวิจัย
-

ข้อมูลจากระเบียนนักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา พัฒนาร่วมกับ HR-Profile สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน