ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ-สกุล (TH) นายอภิชาติ ชิดบุรี
นายอภิชาติ   ชิดบุรี
Name (EN) Aphichat   Chidburee
E-mail chidburee@rmutl.ac.th
การศึกษา

ปริญญาเอก-วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ตำแหน่งวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สาขาวิชา พืชศาสตร์
หลักสูตร วท.บ.พืชศาสตร์
คณะ/สถาบัน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
สำนัก/กอง -
หน่วยงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา - สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร
ความเชี่ยวชาญ
สาขาความเชี่ยวชาญ การเกษตร/การประมง/ปศุสัตว์  
คำสำคัญ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช,ไม้ดอก,พืชสวนประดับ,เทคโนโลยีชีวภาพ
กลุ่มวิจัย (0)  
ผลงาน
โครงการวิจัย 14 จากระบบระเบียนนักวิจัย
ปี 2559 เรื่อง: 2559A17002028 ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ผลิตจากแบคทีเรียกลุ่ม Pink Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs) ต่อการพัฒนายอดและแคลลัสของผักเชียงดา [Gymnema inodorum (Lour.) Decne.] ที่มีสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในสภาพปลอดเชื้อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2558 เรื่อง: 2558A17002057 ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ผลิตจากแบคทีเรียกลุ่ม    Pink Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs) ต่อการพัฒนายอดและแคลลัสของผักเชียงดา [Gymnema inodorum (Lour.) Decne.] ที่มีสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในสภาพปลอดเชื้อ - (ไม่ระบุ)
ปี 2558 เรื่อง: 2558A17002057 ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ผลิตจากแบคทีเรียกลุ่ม    Pink Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs) ต่อการพัฒนายอดและแคลลัสของผักเชียงดา [Gymnema inodorum (Lour.) Decne.] ที่มีสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในสภาพปลอดเชื้อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2557 เรื่อง: การเพาะเลี้ยงแคลลัสของผักเชียงดาเพื่อการผลิตสารต้านอนุมูลอิสระ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2557 เรื่อง: ผลของหลอดไดโอดเปล่งแสงร่วมกันสีน้ำเงิน/สีแดง/สีขาว และความเข้มข้นของธาตุอาหารหลักที่มีต่อการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อยูคาลิปตัสในสภาพปลอดเชื้อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2557 เรื่อง: การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้าหมักจากแบคทีเรียที่มีสารประกอบ ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชเพื่อประยุกต์ใช้ในการเกษตร - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17001009 การพัฒนาคุณภาพเชียงดา เพื่อใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพต้านอนุมูลอิสระเชิงพาณิชย์ - (ไม่ระบุ)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17002112 การเลี้ยงปลาทองร่วมกับการปลูกผักสลัดในระบบอะควาโพนิคส์ - (ไม่ระบุ)
ปี 2555 เรื่อง: 2555A17003010 การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (ไม่ระบุ)
ปี 2555 เรื่อง: แนวทางการจัดการความรู้ในชุมชนเพื่อการจัดการผลิตพุทราเศรษฐี อำเภอลอง จังหวัดแพร่ - (ไม่ระบุ)
ปี 2554 เรื่อง: 2554A17001008 การพัฒนาคุณภาพเชียงดา (Gymnema inodorum(Lour.) Decne.) เพื่อใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต้านอนุมูลอิสระเชิงพาณิชย์ - (ไม่ระบุ)
ปี 2554 เรื่อง: 2554A17003035 การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (ไม่ระบุ)
ปี 2554 เรื่อง: การรวบรวมข้อมูลกล้วยไม้ที่เป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นของจังหวัดลำปาง - (ไม่ระบุ)
ปี 2552 เรื่อง: การพัฒนาเทคนิคหาความสัมพันธ์ลักษณะของปากใบกับจำนวนชุดโครโมโซมและการตรวจสอบดีเอ็นเอของกล้วยไม้พันธุ์การค้าสำหรับการสอนในวิชาพันธุศาสตร์ - (ไม่ระบุ)
โครงการวิจัย 6 จากระบบHR-Profile
ปี 2558 เรื่อง: ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ผลิตจากแบคทีเรียกลุ่มPink Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs)ต่อการพัฒนายอดและแคลลัสของผักเชียงดา [Gymnema inodorum (Lour.) Decne.] ที่มีสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในสภาพปลอดเชื้อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2555 เรื่อง: การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2554 เรื่อง: การขยายพันธุ์ผักเชียงดาในสภาพปลอดเชื้อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2552 เรื่อง: ศึกษาการขยายพันธุ์ผักย่านางด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2551 เรื่อง: ศึกษาการขยายพันธุ์ผักย่านางด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ - (หัวหน้าโครงการ)
ปี 2550 เรื่อง: พัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรที่เหมาะสมสำหรับ การเรียนการสอนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลำปาง - (หัวหน้าโครงการ)
ผลงานวิชาการ 4
ปี 2556 เรื่อง: การจัดการความรู้ในชุมชนเพื่อการจัดการผลิตพุทราเศรษฐีอำเภอลอง จังหวัดแพร่ - (เจ้าของผลงาน)
ปี 2555 เรื่อง: การจัดการองค์ความรู้ของกลุ่มบ้านแค่ จังหวัดลำปางในการผลิตวัสดุปลูกโดยชุมชนมีส่วนร่วม - (เจ้าของผลงาน)
ปี 2554 เรื่อง: ผลของ BAP ร่วมกับ NAA และสภาพอาหารต่อการเพิ่มปริมาณยอดต้นย่านางในสภาพปลอดเชื้อ - (เจ้าของผลงาน)
ปี 2553 เรื่อง: การฟอกฆ่าเชื้อชิ้นส่วนและการชักนำให้เกิดหัวขนาดเล็กของต้นหอมน้ำ - (เจ้าของผลงาน)
ผลงานสร้างสรรค์ 0
-
ผลงานทั่วไป 0 จากระบบระเบียนนักวิจัย
-

ข้อมูลจากระเบียนนักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา พัฒนาร่วมกับ HR-Profile สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน